[ใหม่] สารกันเหลือง, สารกันเสื่อม, สารกันยางเหลือง, สารกันยางเสื่อม, สารกันพลาสติกเหลือง, สารกันพลาสติกเสื่อม

187 สัปดาห์ ที่แล้ว - สมุทรสาคร - คนดู 327

1 ฿

  • สารกันเหลือง, สารกันเสื่อม, สารกันยางเหลือง, สารกันยางเสื่อม, สารกันพลาสติกเหลือง, สารกันพลาสติกเสื่อม รูปที่ 1
รายละเอียด

สารกันเหลือง, สารกันเสื่อม, สารกันยางเหลือง, สารกันยางเสื่อม, สารกันพลาสติกเหลือง, สารกันพลาสติกเสื่อม

จำหน่าย สารแอนตี้ออกซิแดนท์, Antioxidant, สำหรับพลาสติก, ยาง, น้ำมัน และอุตสาหกรรมต่างๆ, ชื่ออื่นๆ ที่ใช้เรียกสารแอนตี้ออกซิแดนท์ ได้แก่ สารกันเหลือง, สารกันเสื่อม, สารแอนตี้ออกซิแดนท์, แอนตี้ออกซิแดนท์, แอนติออกซิแดนท์, สารต้านอนุมูลอิสระ, สารต้านออกซิเดชัน, สารกันยางเสื่อม, สารกันยางเหลือง, สารกันพลาสติกเสื่อม, สารกันพลาสติกเหลือง, แอนตี้ออกซิแดนท์ 1010, Antioxidant, Antioxidant 1010, phenol antioxidant, phenolic antioxidant, phenol antioxidant 1010, phenolic antioxidant 1010, high grade antioxidant, rubber antioxidant, plastic antioxidant, antioxidant for rubber, antioxidant for plastic, non staining antioxidant, non-staining antioxidant, primary antioxidant, แอนตี้ออกซิแดนท์ปฐมภูมิ, secondary antioxidant, แอนตี้ออกซิแดนท์ทุติยภูมิ, thermal stabilizer, สารป้องกันยางเสื่อม, สารป้องกันการเสื่อมสภาพ ขนาดบรรจุภัณฑ์ 25 kg/bag สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายขาย

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
โทรศัพท์: 034-854888 , 034-496284
มือถือ : 082-4504888 , 08-00160016
โทรสาร: 034-854899 , 034-496285
เว็ปไซต์ : www.thaipolychemicals.com
อีเมลล์1 : thaipolychemicals@hotmail.com
อีเมลล์2 : info@thaipolychemicals.com

 

สารกันเสื่อมหรือสารแอนตี้ออกซิแดนท์หรือสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) เป็นสารที่ถูกเติมลงไปในไฮโดรคาร์บอนซึ่งไวต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เช่น ในยาง พลาสติก อาหาร หรือน้ำมัน เพื่อที่จะยับยั้งหรือชะลอการเกิดกระบวนการออกซิเดชันนั่นเอง สารแอนตี้ออกซิแดนท์นี้จะทำงานใน 2 ลักษณะด้วยกัน คือสำหรับสารต้านอนุมูลอิสระปฐมภูมิ ( Phenolic antioxidant ) กระบวนการต้านอนุมูลอิสระจะเกิดขึ้นโดยการเพิ่มอะตอมของอิเล็กตรอนหรือไฮโดรเจนให้กับสารอนุพันธ์ ส่วนสารต้านอนุมูลอิสระทุติยภูมิ (peroxide decomposers) นั้น กระบวนการต้านอนุมูลอิสระจะเกิดขึ้นโดยการกำจัดตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและการป้องกันสาเหตุต่างๆ ที่จะทำให้เกิดการออกซิเดชันได้ ในช่วงอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ต่างๆ นั้น การยึดติดหรือยึดเกาะอาจเสื่อมลงได้ และอาจมีปัจจัยบางประการที่ทำให้คุณสมบัติในการยึดเกาะของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่พึงปรารถนา ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาในกระบวนการผลิตสินค้าต่างๆ รวมถึงลักษณะสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ และประสิทธิภาพในการยึดเกาะที่ลดลง เนื่องด้วยสารแอนตี้ออกซิแดนท์มีบทบาทในการยับยั้งและป้องกันการเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สารแอนตี้ออกซิแดนท์จึงช่วยรักษาคุณภาพและประสิทธิภาพในการยึดเกาะของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไว้ตลอดช่วงอายุการใช้งาน โดยมันทำหน้าที่ในด้านการคงไว้ซึ่งสี ความหนืด และคุณสมบัติการยึดเกาะ กล่าวโดยสรุปก็คือ แอนตี้ออกซิแดนท์ เป็นสารที่ใส่ในโพลิเมอร์ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกิริยากับ ออกซิเจน ทำให้เกิดอนุมูลอิสระซึ่งจะไปทำลายโครงสร้างโมเลกุลของโพลิเมอร์ ช่วยป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์ออกเหลืองในขั้นตอนการผลิตในขณะขึ้นรูป และช่วยยืดอายุการใช้งานของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ไม่ให้เสื่อมสภาพเร็วนั่นเอง

Phenolic Antioxidant 1010, Chemical Name: Pentaerythritol-tetra-(β -(3, 5- di-tert-butyl-4-hydroxyphenyl) propionate), Molecular Formula: C73H108O12, CAS NO. 6683-19-8, Characteristics: Phenolic Antioxidant 1010, Oxygen resistance, good compatibility, Oxygen resistance, non-polluting, non-toxic, heat resistance. Applications, PVC, PE, PP, PS, PA, polyformaldehyde, ABS resin, synthtic rubber, Coating and oil. Storage, Phenolic Antioxidant is stable without special demands for storing, but high temperature and moisture should be avoidance.