[มือสอง] สารปรับปรุงดินเพชรสุวรรณ

457 สัปดาห์ ที่แล้ว - ปทุมธานี - คนดู 1,265
รายละเอียด

 เป็น สารปรับสภาพน้ำและดิน ที่มีความเป็น กรด-ด่าง
 ปรับค่าPH ของดินภายใน 10 วัน
 ละลาย น้ำภายใน 30 วินาที เห็นความแตกต่าง 3-7 วัน
 เร่งการเจริญเติบโตของพืช ให้โตเร็ว เขียวนาน ย่นระยะเวลาในการเพาะปลูก
 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี 60-80% ลด
 ประกอบด้วย ธาตุอาอาหาร N-P-K หลัก รอง เสริม และแร่ธาตุ ต่างๆมากกว่า 30 ชนิด
 กรดฮิวมิค คุณสมบัติ
 ปรับสภาพดินลดความเป็นกรด ด่าง หลังใช้ 7-10 วัน
 ย่อยสลายฟางข้าวและเมล็ดวัชพืช คุมหญ้า
 ช่วยอุ้มน้ำ ได้ดี ทำให้ดินมีความชุ่มชื้น
 คุมวัชพืช ย่อยสลายให้กลายเป็นปุ๋ย เพิ่มจุลินทรีย์ในดิน
 กำจัดเชื้อรา ไข่หนอน แมลงในดินทำให้ดินสะอาด เพิ่มออกซิเจนในดิน ย่อยสลายปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มคุณภาพปุ๋ยอินทรีย์ให้มีฤทธิ์เท่าเคมี
 . กรด อะมิโน 18 ชนิด
 เร่งรากให้ขยายและดูดซึมธาตุอาหารได้มากขึ้น
 สามารถปลดปล่อยธาตุอาหารเข้าสู่ลำต้นได้โดยตรง
 บำรุงต้น รากและใบ เร่งการติดดอก ออกผลให้เร็วขึ้น
 5. ช่วยป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าได้เป็นอย่างดี
 6. ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มรสชาติ เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มเปอร์เซ็นต์แป้ง
 7. เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน
 4 .แร่โดโรไมต์ .
 .ปรับสภาพความเป็นกรดในดิน ช่วยแก้ปัญหา ดินเสื่อม ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินดาน ดินเสื่อมโทรม
 ปรับสภาพดินให้มีความสมบูรณ์ ช่วยให้ปุ๋ยละลายเร็วขึ้น
 ช่วยรักษาธาตุอาหารให้อยู่ในดินนานขึ้น ยังช่วยพืชในการแบ่งเซลล์ เร่งการเจริญเติบโต ทำให้พืชแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เพิ่มผลผลิต
 .ปรับปรุงบำรุงดินให้ร่วนซุย มีรูพรุนให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ทำให้ จุลินทรีย์ในดินที่เป็นประโยชน์ต่อพืชทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ
 ดูดซับนำธาตุอาหารที่ตกค้างมาใช้ได้ทั้งหมด จากการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นมานาน ทำให้ปุ๋ย เคมีสะสมในดินจำนวนมาก
 ป้องกันแก้ไขปัญหา พืชโตช้า แคระแกร็น ใบเหลือง ใบซีด ใบหงิกงอ ดอกผลร่วง ผลมีขนาดเล็ก รูปทรงผิดส่วน ผลผลิตตกต่ำ
 สารโพลิเมอร์ สารสกัดธรรมชาติ
 ทำให้ดินร่วนซุย เนื้อดินนุ่ม
 กระตุ้นการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช
 ทำให้ดินอุ้มน้ำได้ดี เพิ่มออกซิเจนให้กับดิน
 ตรึงธาตุอาหารเก็บไว้ไม่ให้ละลายไปกับน้ำ หรืออากาศ
 แล้วปลดปล่อยอย่างช้าๆตามที่พืชต้องการ จึงทำให้ ธาตุอาหาร อยู่ได้นานตั้งแต่ 60 วันถึง 90 วัน
 ดูดซับธาตุอาหารทีตกค้างในดิน (ปุ๋ยเก่าที่ตกค้าง) กักเก็บธาตุอาหาร
 ปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับรากพืชโดยตรง(จับปุ๋ยป้อนให้รากพืช